ปิล๊อก (Pilok)

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ด้านกายภาพ
ที่ตั้ง
ตำบลปิล๊อก ตั้งอยู่ทิศตะวันตกตามแผนที่ประเทศไทย เป็นพื้นที่ติดชายแดนระหว่างประเทศไทยกับประเทศสหภาพเมียนมาร์ มีเทือกเขาตะนาวศรีเป็นแนวเขตแบ่งแดน พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าเขาสูงสลับซับซ้อน หมู่บ้านที่อยู่ติดชายแดนคือหมู่ที่ ๑ บ้านอีต่อง มีความสูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ ๘๐๐ เมตร อยู่ห่างจากอำเภอทองผาภูมิ ๗๕ กิโลเมตร อยู่ห่างจากจังหวัดกาญจนบุรี ๒๑๐ กิโลเมตร ส่วนหมู่ที่ ๒ ๓ ,๔ ใช้การเดินทางโดยเรือเนื่องจากอยู่ในอ่างเก็บน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ ตำบลปิล๊อกมีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลท่าขนุน อำเภอทองผาภูมิ และตำบลปรังผล อำเภอสังขละบุรี
ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลท่าขนุน และตำบลห้วยเขย่ง
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลท่าขนุน และตำบลห้วยเขย่ง
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ประเทศสหภาพเมียนมาร์
พื้นที่
ตำบลปิล๊อก มีพื้นที่ทั้งหมด ๗๒๕ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๔๕๓,๑๒๕ ไร่
ภูมิประเทศ
พื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลปิล๊อก เป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน ที่ราบเชิงเขาซึ่งเป็นพื้นที่ทำกินของราษฎร และอีกจำนวน ๓ หมู่บ้านอยู่ในเขตอ่างเก็บน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ
ภูมิอากาศ
ในช่วงฤดูฝนมีฝนตกค่อนข้างชุกบางช่วงฝนตกติดต่อกันเป็นอาทิตย์ ฤดูหนาวก็มีอากาศหนาวเย็นมากอุณหภูมิบางช่วง ๘ – ๑๐ องศา
มีพื้นที่ ๗๒๕ ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๔๕๓,๑๒๕ ไร่ แบ่งการปกครองออกเป็น ๔ หมู่บ้าน ได้แก่
หมู่ที่ ๑ บ้านอีต่อง ผู้ใหญ่บ้าน นางอรุณี มหัตกีรติ
หมู่ที่ ๒ บ้านโบอ่อง กำนันตำบลปิล๊อก นางไพเราะ คล้ายมี
หมู่ที่ ๓ บ้านใหม่ไร่ป้า ผู้ใหญ่บ้าน นายคำอ้าย ทองผาประวิตร
หมู่ที่ ๔ บ้านปิล๊อกคี่ ผู้ใหญ่บ้าน นายประสาท แดงเถิน
จำนวนประชากร ชาย  3,226 คน หญิง 3,101 คน รวมประชากร  6,236 คน รวมครัวเรือน 2,841
หมู่ที่
หมู่บ้าน
ครัวเรือน
ชาย
หญิง
รวม
บ้านอีต่อง
1,317
1,160
2,477
1,566
บ้านโบอ่อง
675
664
1,399
591
บ้านใหม่ไร่ป้า
299
244
543
204
บ้านปิล๊อกคี่
935
942
1,877
2,841
ที่มา – ข้อมูลจากการสำรวจทะเบียนราษฎร์อำเภอทองผาภูมิ ณ เดือนสิงหาคม ๒๕๖๕
สภาพทางเศรษฐกิจ
ประชากรส่วนใหญ่ของตำบลปิล๊อกประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยแยกเป็นการปลูกพืชไร่ เช่น ข้าวโพด มันสำปะหลัง เลี้ยงสัตว์ ทำการประมง และพืชสวน เช่น สวนผลไม้
หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลปิล๊อก
ธนาคารชุมชน จำนวน  แห่ง
โรงแรม จำนวน – แห่ง
ปั๊มน้ำมัน จำนวน – แห่ง
โรงงานอุตสาหกรรม จำนวน – แห่ง
โรงสี ขนาดเล็ก จำนวน  แห่ง
สภาพทางสังคม
การศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน  แห่ง
โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน – แห่ง
ศูนย์การเรียนชุมชน จำนวน  แห่ง
ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน จำนวน  แห่ง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน  แห่ง
สถาบันและองค์กรทางศาสนา
– วัด สำนักสงฆ์ จำนวน  แห่ง
– มัสยิด จำนวน – แห่ง
– ศาลเจ้า จำนวน – แห่ง
– โบสถ์ จำนวน  แห่ง
ด้านสาธารณสุข
– สถานีอนามัยประจำหมู่บ้าน จำนวน  แห่ง
– มาลาเรียคลินิก จำนวน  แห่ง
ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
– สถานีตำรวจ จำนวน  แห่ง
– สถานีดับเพลิง จำนวน – แห่ง
– ที่พักสายตรวจตำบล จำนวน  แห่ง
การบริหารขั้นพื้นฐาน    การคมนาคมในเขตตำบลปิล๊อก แบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ
การเดินทางโดยทางรถยนต์ มีถนนลาดยางถึงหมู่บ้านและชายแดน สายอำเภอทองผาภูมิ – บ้านอีต่อง หมู่ที่ ๑
การเดินทางโดยเรือเป็นพาหนะ มีจำนวน ๓ หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๒ ๓ 
การโทรคมนาคม
– ที่ทำการไปรษณีย์ เอกชน จำนวน  แห่ง
– เสาสัญญาณรับโทรศัพท์ จำนวน  แห่ง
– โทรศัพท์สาธารณะ จำนวน ๑๐ แห่ง
การไฟฟ้า
มีจำนวน ๑ หมู่บ้านที่มีไฟฟ้าใช้โดยบริษัท ปตทจำกัด มหาชน ได้จัดหาเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ที่ใช้ก๊าชเป็นเชื้อเพลิง ประมาณ ๑๗๐ ครัวเรือน ส่วนอีก ๓ หมู่บ้าน หมู่ที่ ๒,,๔ ใช้ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
แหล่งน้ำธรรมชาติ
– ฝาย จำนวน ๑๒ แห่ง
– บ่อน้ำตื้น จำนวน  แห่ง
– บ่อโยก จำนวน  แห่ง
– บ่อบาดาล จำนวน  แห่ง
– อ่างเก็บน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ จำนวน  แห่ง
ข้อมูลอื่น ๆ
ทรัพยากรในพื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยทรัพยากรป่าไม้ และบางแห่งมีแร่ธาตุมีการสัมปทานเหมืองแร่ตะกั่ว และมีอุทยานแห่งชาติ ๒ แห่ง คือ อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ และอุทยานแห่งชาติเขื่อนเขาแหลม
ประเพณีและงานประจำปี
– ประเพณีวันขึ้นปีใหม่ ประมาณเดือน มกราคม
– ประเพณีวันสงกรานต์ ประมาณเดือน เมษายน
– ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน ตุลาคม
– ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นงานพระธาตุโบอ่อง ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ มีนาคม
– ประเพณีงานวันผลไม้และสืบสานประเพณีลานบ้านลานวัฒนธรรม ประมาณเดือน มิถุนายน
– ประเพณีลอยกระทง ประมาณเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน
– ประเพณีงานสัมผัสอากาศเย็นเด่นในตำนานเหมืองแร่ปิล๊อก ประมาณเดือน ธันวาคม มกราคม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ชาวกะเหรี่ยง เรียกตนเองว่า “ปกาเกอะญอ” ซึ่งแปลว่า “คน” เป็นชนเผ่าที่มีจำนวนมากที่สุด ในประเทศไทย แบ่งออกได้เป็น ๔ กลุ่ม ได้แก่ สะกอ หรือยางขาว หรือ ปากฺกะญอ เป็นกลุ่มที่มีประชากรมากที่สุด โป หรือ โพล่ อยู่ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ และลำพูน ปะโอ หรือ ตองสู และบะเว หรือ คะยา ในเขตจังหวัดแม่ฮ่องสอน และยังอาศัยในพื้นที่ของตำบลปิล๊อกเป็นบางส่วน ซึ่งอาศัยอยู่ภายในหมู่ ๒ ๓ และ ๔ โดยมีขนมที่มีชื่อเสียง คือ ขนมทองโยะ เป็นแป้งทางชนเผ่าผสมกับงาดำและนำมาตำให้เป็นเนื้อเดียวกัน เสร็จแล้วให้เอาไปทอด จิ้มกับนมข้นหวาน หอม หวาน มัน รสชาติอร่อย ส่วนถิ่นฐานเดิมของกะเหรี่ยงอยู่บริเวณมองโกเลียเมื่อกว่า ,๐๐๐ ปีมาแล้ว ต่อมาได้หนีภัยจากการรุกรานจากกองทัพจีน มาอยู่ที่ธิเบต ถอยร่นลงมาทางใต้เรื่อยๆ ตั้งแต่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง ลุ่มน้ำสาละวิน มาถึงคอคอดกระจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวนที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยในตอนปลายศตวรรษที่ ๑๘ ในรัชสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ
แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ
๑.น้ำตกจ๊อกกระดิ่น ตั้งอยู่ที่ อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ
ตำบลปิล๊อก อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นน้ำตก
ที่อยู่กลางหุบเขา ท่ามกลางป่าของธรรมชาติ โดยน้ำมีความเย็น ถึงเย็นมาก หากใครได้ลงเล่นต้องรู้สึกสดชื่นและติดใจอยากกลับมาเที่ยวอีกครั้ง ส่วนคำว่า “จ๊อกกระดิ่น” หรือ “ก๊อกกระด่าน”เป็นภาษาพม่า – ทวาย ซึ่งคำว่า“จ๊อกหรือก๊อก”แปลว่า หิน”คำว่า“กระด่าน”แปลว่า “น้ำตก”
๒.หมู่บ้านอีต่อง    ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ตำบลปิล๊อก อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นหมู่บ้านที่ขึ้นชื่อว่า เป็นเมืองในสายหมอก ใครที่ได้มาสัมผัส ต่างก็หลงรักรัก หมู่บ้านเล็กๆนี้ ปัจจุบันที่ที่พักมากมาย รอให้ทุกคนได้มาสัมผัส ถ้าอยากสัมผัสหมอก ต้องมาในช่วงปลายฝนต้นหนาวเลยครับ
๓.เขาช้างเผือก เป็นที่เที่ยวสำหรับคนที่ชอบการเดินป่า ชอบผจญภัย ยอดเขาช้างเผือก รอให้มาพิสูจน์ความกล้ากัน โดยเฉพาะจุดของสันเขาที่หวาดเสียวที่สุดที่เรียกว่า “สันคมมีด” ที่จะทำให้ท่านขาสั่นกันเลยครับ
หากต้องการขึ้นเขาช้างเผือก สามารถติดต่อสอบถามที่ อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิได้เลยครับ
โทร. ๐๓๔-๕๑๐-๙๗๙, ๐๘-๑๓๘๒-๐๓๕๙
4.อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ เป็นอุทยานที่มีวิวสวยมากๆ มีจุดกางเต็นท์ที่มีวิวมองเห็นเขาช้างเผือกได้ ๑๘๐ องศา และยังมีจุดถ่ายรูปสวยๆ อีกมากมาย สำหรับการเดินทาง จากตลาดอำเภอทองผาภูมิ ใช้เส้นทางหมายเลข ๓๒๗๒ สายทองผาภูมิ – บ้านไร่-ปิล๊อก ถึงสามแยกบ้านไร่เลี้ยวซ้ายไปตาม เส้นทางคดเคี้ยวบนเขา ที่ทำการอุทยานแห่งชาติทองผาภูมิซึ่งจะตั้งอยู่ระหว่างหลักกิโลเมตรที่ ๒๑ – ๒๒
โทร. ๐๓๔-๕๑๐-๙๗๙, ๐๘-๑๓๘๒-๐๓๕๙
๕.เจดีย์พระธาตุโบอ่อง ตั้งอยู่ที่หมู่ ๒ บ้านโบอ่อง  ในตำบลปิล๊อก บนเกาะในอ่างเก็บน้ำเขื่อนวชิราลงกรณ อ. ทองผาภูมิ จ. กาญจนบุรี ความเชื่อของชาวบ้านที่เล่าขานกันมา ว่าห้ามผู้หญิงเดินข้ามหนองน้ำเข้าสู่เขตพระธาตุโบอ่องเด็ดขาด เพราะมีการเล่าต่อกันมาว่า ครั้งหนึ่ง เคยมีผู้หญิงเดินข้ามสะพานเพื่อขึ้นไปเจดีย์ฯทำให้น้ำในบึงที่อยู่บริเวณรอบๆ เหือดแห้งหายไปส่วนการเดินทางสามารถ นั่งรถสองแถวจากตลาดทองผาภูมิ บอกคนขับ ว่าลงบริเวณท่าแพ แล้วนั่งเรือต่อเข้าไปหมู่บ้านโบอ่อง ใช้เวลาประมาณ ๓๐ – ๔๕ นาที โดยประมาณ
มวลชนจัดตั้ง
กลุ่มลูกเสือชาวบ้าน จำนวน  รุ่น
ไทยอาสาสมัครป้องกันชาติ จำนวน  รุ่น
รสทปจำนวน  รุ่น
อปพรจำนวน  รุ่น
กลุ่มสตรี จำนวน ๙๐ คน
กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน ๙๙ คน
กลุ่มแปรรูปผลิตอาหาร จำนวน ๕๐ คน
กลุ่มผู้เลี้ยงปลาในกระชัง จำนวน ๑๔๐ คน
กลุ่มผู้ปลูกยางพารา จำนวน ๑๐๐ คน
๑๐กลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน  กลุ่ม
๑๑กลุ่มเกษตรกร จำนวน  กลุ่ม
เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ )
ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน
 มีจำนวน ๔ หมู่บ้าน และมีข้อมูลพื้นฐานดังนี้
ข้อมูลทั่วไป
หมู่บ้าน/ชุมชน
ชาย
หญิง
ครัวเรือน
พื้นที่ (ไร่)
บ้านปิล๊อกคี่
542
558
401
10,000
บ้านอีต่อง
1,441
1,207
1,504
800
บ้านโบอ่อง
500
476
543
15,000
บ้านใหม่ไร่ป้า
217
158
179
8,400
 ปัญหาและความต้องการในการทำการเกษตรของ หมู่บ้าน/ชุมชน และโครงการ/แผนที่หมู่บ้าน/ชุมชนเสนอ
ข้อมูลด้านการเกษตร
ประชานส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๘๐ ประกอบอาชีพทำการเกษตรกรรม ได้แก่ ปลูกยางพารา มันสำปะหลัง
และบางส่วนประกอบอาชีพเลี้ยงปลา
ข้อมูลทางด้านการเกษตร (ทำสวน)
ยางพารา
จำนวนครัวเรือน
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
ราคาขายโดยเฉลี่ย
บ้านโบอ่อง
80
30,000
40,000
บ้านปิล๊อกคี่
50
30,000
40,000
บ้านใหม่ไร่ป้า
40
30,000
40,000
ข้อมูลด้านการเกษตร (ทำไร่)
ข้าวโพด
จำนวนครัวเรือน
ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย
ราคาขายโดยเฉลี่ย
บ้านปิล๊อกคี่
40
35,000
49,000
บ้านใหม่ไร่ป้า
25
35,000
49,000
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำการเกษตร
แหล่งน้ำทางการเกษตร (ธรรมชาติ)
แหล่งน้ำทางการเกษตร (ที่มนุษย์สร้าง)
แหล่งน้ำธรรมชาติ
เพียงพอ
ไม่เพียงพอ
ทั่วถึง
ไม่ทั่วถึง
แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้าง
เพียงพอ
ไม่เพียงพอ
ทั่วถึง
ไม่ทั่วถึง
แม่น้ำ
0
0
0
0
แก้มลิง
0
0
0
0
ห้วย/ลำธาร
0
4
0
4
อ่างเก็บน้ำ
0
0
0
0
คลอง
0
0
0
0
ฝาย
0
4
0
4
หนองน้ำ/บึง
0
0
0
0
สระ
0
0
0
0
น้ำตก
0
0
0
0
คลองชลประทาน
0
0
0
0
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อบริโภค
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค)
แหล่งน้ำกิน
ไม่มี
เพียงพอ
ไม่เพียงพอ
ทั่วถึง
ไม่ทั่วถึง
บ่อบาดาลสาธารณะ
0
0
0
0
0
บ่อน้ำตื้นสาธารณะ
0
0
0
0
0
ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
0
1
0
1
0
ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
0
0
0
0
0
แหล่งน้ำธรรมชาติ
0
0
2
0
2
จำนวนหมู่บ้าน
ตำบลปิล๊อก แบ่งการปกครองออกเป็น 4 หมู่บ้าน
  1. หมู่ 1  บ้านอีต่อง
  2. หมู่ 2 บ้านโบอ่อง
  3. หมู่ 3 บ้านไหม่ไร่ป้า
  4. หมู่ที่ 4 บ้านปิล๊อกคี่
จำนวนประชากรปี พ.ศ.๒๕๖๓ แยกเป็น  ชาย  ๓,๑๖๖ คน   หญิง ๒,๙๐๐ คน    รวม  ๖,๐๖๖  คน
หมู่ที่
หมู่บ้าน
ครัวเรือน
ชาย
หญิง
รวม
บ้านอีต่อง
๑,๕๓๑
๑,๔๖๒
๑,๒๔๖
๒,๗๐๘
บ้านโบอ่อง
๕๗๖
๑,๔๖๒
๖๐๙
๑,๒๓๕
บ้านใหม่ไร่ป้า
๒๐๗
๒๗๓
๒๑๒
๔๘๕
บ้านปิล๊อกคี่
๔๒๘
๘๐๕
๘๓๓
๑,๖๓๘
ที่มา  –  ข้อมูลจากการสำรวจทะเบียนราษฎร์อำเภอทองผาภูมิ  ณ  เดือนกรกฎาคม  ๒๕๖๒
จำนวนประชากรปี พ.ศ.๒๕๖๔ แยกเป็น  ชาย  ๓,๑๗๖ คน หญิง ๒,๙๑๑ คน รวมประชากร  ๖,๐๘๗ คน รวมครัวเรือน ๒,๗๗๒
หมู่ที่
หมู่บ้าน
ครัวเรือน
ชาย
หญิง
รวม
บ้านอีต่อง
๑,๕๕๕
๑,๔๐๘
๑,๒๑๔
๒,๖๒๒
บ้านโบอ่อง
๕๗๗
๖๔๐
๖๒๓
๑,๒๖๓
บ้านใหม่ไร่ป้า
๒๐๒
๒๘๓
๒๑๐
๔๙๓
บ้านปิล๊อกคี่
๔๓๘
๘๔๕
๘๖๔
๑,๗๐๙
ที่มา  –  ข้อมูลจากการสำรวจทะเบียนราษฎร์อำเภอทองผาภูมิ  ณ  เดือนกรกฎาคม  ๒๕๖๓ 
จำนวนประชากรปี พ.ศ.๒๕๖๕ แยกเป็น  ชาย  ๓,๑๗๐ คน หญิง ๒,๙๔๖ คน รวมประชากร  ๖,๑๑๖ คน รวมครัวเรือน ๒,๗๙๙
หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
ประชากร
รวมจำนวนประชากร
จำนวนครัวเรือน
ชาย
หญิง
๑.
บ้านอีต่อง
๑,๓๗๕
๑,๒๐๗
๒,๕๘๒
๑,๕๖๓
๒.
บ้านโบอ่อง
๖๕๖
๖๓๓
๑,๒๘๙
๕๘๒
๓.
บ้านใหม่ไร่ป้า
๒๘๘
๒๑๙
๕๐๗
๒๐๒
๔.
บ้านปิล๊อกคี่
๘๕๑
๘๘๗
๑,๗๓๘
๔๕๒
รวม
๓,๑๗๐
๒,๙๔๖
๖,๑๑๖
๒,๗๙๙
ที่มา  –  ข้อมูลจากการสำรวจทะเบียนราษฎร์อำเภอทองผาภูมิ  ณ  เดือนกันยายน  ๒๕๖๔
จำนวนประชากรปี พ.ศ.๒๕๖๖  ชาย  ๓,๒๒๖ คน หญิง ๓,๐๑๐ คน รวมประชากร  ๖,๒๓๖ คน รวมครัวเรือน ๒,๘๔๑
หมู่ที่
หมู่บ้าน
ครัวเรือน
ชาย
หญิง
รวม
บ้านอีต่อง
๑,๓๑๗
๑,๑๖๐
๒,๔๗๗
๑,๕๖๖
บ้านโบอ่อง
๖๗๕
๖๖๔
๑,๓๓๙
๕๙๑
บ้านใหม่ไร่ป้า
๒๙๙
๒๔๔
๕๔๓
๒๐๔
บ้านปิล๊อกคี่
๙๓๕
๙๔๒
๑,๘๗๗
๒,๘๔๑

ข้อมูลจาก องค์การบริหารส่วนตำบลปิล็อก