#เกษตรกาญจน์…..เตือนภัยเกษตรกร…ป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ในมันสำปะหลัง

#เกษตรกาญจน์…..เตือนภัยเกษตรกร…ป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ในมันสำปะหลัง

#เกษตรกาญจน์…..เตือนภัยเกษตรกร…ป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ในมันสำปะหลัง ระวัง หนอนกระทู้บุกไร่มันสำปะหลัง สภาพอากาศในช่วงนี้มีฝนตก และฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกมันสำปะหลัง ใน ทุกระยะ การเจริญเติบโต รับมือหนอนกระทู้ โดยหนอนระยะแรกเข้าทำลายเป็นกลุ่ม ในระยะต่อมาจะทำลายรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากเป็นหนอนที่มีขนาดใหญ่ สามารถกัดกินใบ ก้าน แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1 หมั่นสำรวจแปลงปลูก ตั้งแต่เริ่มงอก หากพบกลุ่มไข่และตัวหนอนทำการเก็บทำลายทันที 2 ปล่อยแมลงศัตรูธรรมชาติ เช่น แตนเบียนไตรโคแกรมม่า แมลงหางหนีบ มวนพิฆาต เป็นต้น 3 ใช้สารชีวภัณฑ์ พ่นด้วยเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส ทูริงเยนซิส ตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร โดยเฉพาะหนอนระยะแรกๆ ควรพ่นสารชีวภัณฑ์ในช่วงเย็น จะเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 4 หากพบการระบาดรุนแรงใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงตามคำแนะนำ การป้องกันกำจัดโดยวิธีใช้สารเคมี – ต้องสลับกลุ่มสารทุก

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน ภัยร้ายที่เกษตรกรต้องระวัง

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน ภัยร้ายที่เกษตรกรต้องระวัง

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน ภัยร้ายที่เกษตรกรต้องระวัง!!! วันนี้เรา จะพาทุกท่านมารู้จักกับเจ้าหนอนตัวร้ายที่ทั่วโลกคุมเข้ม พร้อมแนะวิธีรับมือป้องกัน อ่านครบจบในโพสต์นี้

โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง

โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง

โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลังคลิกอ่าน : https://bit.ly/464zFGF————————-ลักษณะอาการ ใบยอดแตกเป็นพุ่ม มีขนาดเล็กลงและจำนวนมากกว่าปกติ พบบริเวณตาข้างกิ่งหรือลำต้น ใบมีสีเหลืองซีด หรือสีเหลืองเข้มปนน้ำตาลแดง ใบจะแห้งตายเริ่มจากใบล่างขึ้นไป ข้อถี่สั้น ท่อน้ำท่ออาหารเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ต้นแคระแกร็น มีอาการแห้งตายจากยอดลงมาสู่โคนต้น สามารถติดไปกับท่อนพันธุ์ได้

เตือนชาวนา เฝ้าระวัง แมลงดำหนามเข้าทำลายผลผลิต

เตือนชาวนา เฝ้าระวัง แมลงดำหนามเข้าทำลายผลผลิต

เตือนชาวนา ปลูกข้าวระยะนี้ เฝ้าระวัง แมลงดำหนามเข้าทำลายผลผลิต แนะหมั่นสำรวจแปลงนา กำจัดวัชพืชและใช้ปุ๋ยไนโตรเจนตามค่าวิเคราะห์ดิน ขอเตือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวนาปีในช่วงนี้ซึ่งข้าวอยู่ในระยะแตกกอ เฝ้าระวังแมลงดำหนามอย่างต่อเนื่อง ให้หมั่นสำรวจแปลงนา และกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกอยู่เสมอ ไม่ให้เป็นแหล่งอาศัยหรือหลบซ่อนของแมลงศัตรูพืชดังกล่าว ตลอดจนใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการของพืช อันจะส่งเสริมให้ต้นข้าวมีความแข็งแรง ทำให้ศัตรูเข้าทำลายได้ยากขึ้น สำหรับแมลงดำหนาม เป็นศัตรูข้าวที่มักจะกัดกินเนื้อเยื่อส่วนสีเขียวบริเวณใบข้าวทั้งที่เป็นระยะตัวหนอนและตัวเต็มวัย มีวงจรชีวิตรวม 1 – 2 เดือน โดยตัวหนอนจะชอนใบจนเห็นเป็นรอยแผ่นขุ่นขาวขนานกับเส้นทางใบ และตัวเต็มวัยจะแทะผิวใบเป็นรอยขูดขาวขนานตามทางใบคล้ายคลึงกัน ทำให้ใบข้าวเสียหาย หากถูกทำลายรุนแรงเป็นจำนวนมาก ใบข้าวจะแห้งเป็นสีน้ำตาลเหมือนรอยไฟไหม้ ทำให้ผลผลิตลดลง วิธีการสังเกต ให้สำรวจบริเวณกอข้าว แมลงดำหนามข้าวตัวเต็มวัย จะมีปีกแข็งสีดำและมีหนามแข็งแหลมปกคลุมลำตัว ความยาวประมาณ 5 – 6 มิลลิเมตร ตัวเมียชอบวางไข่บริเวณปลายใบข้าวอ่อน ซึ่งตัวเต็มวัยนี้จะมีอายุประมาณ 14