#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง โรคตายพราย หรือ โรคปานามา หรือ โรคเหี่ยว (เชื้อรา Fusarium oxysporum f.sp. cubense) ในกล้วย

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง โรคตายพราย หรือ โรคปานามา หรือ โรคเหี่ยว (เชื้อรา Fusarium oxysporum f.sp. cubense) ในกล้วย

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง โรคตายพราย หรือ โรคปานามา หรือ โรคเหี่ยว (เชื้อรา Fusar­i­um oxys­po­rum f.sp. cubense) ในกล้วย สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศร้อน มีฝนตก และฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกกล้วย ในระยะ ทุกระยะการเจริญเติบโต รับมือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา หรือ โรคเหี่ยว (เชื้อรา Fusar­i­um oxys­po­rum f.sp. cubense)พบโรคได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของกล้วย ใบกล้วยที่อยู่รอบนอกหรือใบแก่แสดงอาการเหี่ยวเหลือง โดยใบจะเหลืองจากขอบใบและลุกลามเข้ากลางใบ ก้านใบหักพับตรงรอยต่อกับลำต้นเทียม (กาบใบที่อัดกันแน่น เห็นเป็นต้นเหนือดิน) และจะทยอยหักพับตั้งแต่ใบที่อยู่รอบนอกเข้าไปสู่ใบด้านใน ระยะแรกใบยอดยังเขียวตั้งตรง จากนั้นเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ต่อมาใบทั้งหมดจะเหี่ยวแห้ง เมื่อตัดลำต้นเทียมตามขวางหรือตามยาว จะพบเนื้อเยื่อภายในลำต้นเทียมเน่าเป็นสีน้ำตาลตามทางยาวของลำต้นเทียม

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง เพลี้ยไฟพริก ในพริก

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง เพลี้ยไฟพริก ในพริก

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง เพลี้ยไฟพริก ในพริก สภาพอากาศในช่วงนี้มีฝนตก และฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกพริก ในระยะ ทุกระยะการเจริญเติบโต รับมือเพลี้ยไฟพริกตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยง จากยอด ใบอ่อน ตาดอก และดอก ทำให้ใบ หรือยอดอ่อนหงิก ขอบใบหงิกหรือม้วนขึ้นด้านบน ถ้าเข้าทำลายระยะพริกออกดอก จะทำให้ดอกพริกร่วงไม่ติดผล การทำลายในระยะผล จะทำให้รูปทรงของผลบิดงอ ถ้าการระบาดรุนแรงพืชจะชะงักการเจริญเติบโต หรือแห้งตายในที่สุด มักพบระบาดมากในช่วงอากาศแห้งแล้ง แนวทางป้องกัน/แก้ไข1. สุ่มสำรวจพริก 100 ยอด ต่อไร่ ทุกสัปดาห์ โดยเคาะลงบนแผ่นพลาสติกสีดำ และทำการป้องกันกำจัดเมื่อพบเพลี้ยไฟพริกเฉลี่ยมากกว่า 5 ตัวต่อยอด ในขั้นต้นควรเพิ่มความชื้นโดยการให้น้ำ อย่าปล่อยให้พืชขาดน้ำ เพราะจะทำให้พืชอ่อนแอ และเพลี้ยไฟพริกจะระบาดอย่างรวดเร็ว2. ใช้สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัด เช่น

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง ไรขาวพริก ในพริก

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง ไรขาวพริก ในพริก

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง ไรขาวพริก ในพริก สภาพอากาศในช่วงนี้เข้าสูฤดูฝน อากาศชื้น เตือนผู้ปลูกพริก ในระยะ ทุกระยะการเจริญเติบโต รับมือไรขาวพริกตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อน ยอด และดอก ทำให้ใบและยอดหงิกงอ ขอบใบม้วนงอลงด้านล่าง ทำให้ใบมีลักษณะเรียวแหลม ก้านใบยาว เปราะหักง่าย อาการขั้นรุนแรงส่วนยอดจะแตกเป็นฝอย ถ้าทำลายดอกกลีบดอกจะบิดแคระแกร็น ชะงักการเกิดดอก หากระบาดรุนแรง ต้นพริกจะแคระแกร็นไม่เจริญเติบโต มักพบระบาดในช่วงที่มีอากาศชื้น โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน แนวทางป้องกัน/แก้ไข๑ สุ่มสำรวจพริกทุกสัปดาห์ หากพบอาการใบหงิกม้วนงอลงที่เกิดจากการทำลายของไรขาวพริก ให้ทำการป้องกันกำจัด๒. เมื่อพบการระบาดใช้สารฆ่าแมลง-ไร ที่มีประสิทธิภาพ เช่น อะมิทราซ ๒๐% อีซี อัตรา ๔๐ มิลลิลิตรต่อน้ำ ๒๐ ลิตร หรือไพริดาเบน

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวังด้วง Platytrachelus sp.บุกมันสำปะหลัง

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวังด้วง Platytrachelus sp.บุกมันสำปะหลัง

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวังด้วง Platy­tra­chelus sp.บุกมันสำปะหลัง **เตือนเกษตรชาวไร่มันสำปะหลังเฝ้าระวังการระบาดของด้วง Platy­tra­chelus sp.ในมันสำปะหลัง คล้ายแมลงค่อมทอง หากพบการเข้าทำลายของด้วง Platy­tra­chelus sp. ในมันสำปะหลังโดย ตัวเต็มวัยกัดกินใบ ยอดอ่อน ใบที่ถูกทำลายจะเว้าๆ แหว่งๆ ถ้าระบาดรุนแรงจะเหลือแต่ก้านใบ และมีมูลที่ถ่ายออกมาปรากฏให้เห็นตามบริเวณยอด ตัวเต็มวัยเป็นระยะที่สำคัญที่สุด เพราะกัดกินส่วนต่างๆ ของพืช ตัวเต็มวัยที่พบบนต้นพืชพบเป็นคู่ๆ หรือรวมกันเป็นกลุ่มอยู่บนลำต้น เมื่อต้นพืชถูกกระทบ กระเทือน จะทิ้งตัวลงสู่พื้นดิน แนวทางป้องกัน/แก้ไข ๑. ตัวเต็มวัยของแมลงมีอุปนิสัยชอบทิ้งตัวเมื่อกระทบกระเทือน ใช้ผ้าพลาสติกรองใต้ต้นแล้วเขย่าต้น ตัวเต็มวัยจะหล่นแล้วรวบรวมนำไปทำลาย ๒. บริเวณที่พบระบาดควรพ่นด้วยสาร ฆ่าแมลง คาร์บาริล ๘๕% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา ๖๐ กรัมต่อน้ำ

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง หนอนกระทู้บุกไร่มันสำปะหลัง

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง หนอนกระทู้บุกไร่มันสำปะหลัง

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ระวัง หนอนกระทู้บุกไร่มันสำปะหลัง **สภาพอากาศในช่วงนี้มีฝนตก และฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกมันสำปะหลัง ใน ทุกระยะ การเจริญเติบโต รับมือหนอนกระทู้ โดยหนอนระยะแรกเข้าทำลายเป็นกลุ่ม ในระยะต่อมาจะทำลายรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากเป็นหนอนที่มีขนาดใหญ่ สามารถกัดกินใบ ก้าน แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1) เมื่อพบตัวหนอนหรือกลุ่มไข่ในแปลงให้เก็บ และนำมาทำลาย พร้อมกำจัดวัชพืชที่อยู่ในแปลง และบริเวณรอบแปลง 2) ฉีดพ่นด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช โดยเลือกสารชนิดใดชนิดหนึ่ง ผสมน้ำ 20 ลิตร เช่น คลอฟีนาเพอร์ 10% SC อัตรา 40–50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (กลุ่ม 13) หรือ อินดอกซาคาร์บ

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ความแตกต่างระหว่างโรคเหี่ยวกล้วย ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรีย

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ความแตกต่างระหว่างโรคเหี่ยวกล้วย ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรีย

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนภัย ความแตกต่างระหว่างโรคเหี่ยวกล้วย ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา (Fusar­i­um oxys­po­rum f.sp. cubense) เชื้อแบคทีเรีย (Ral­sto­nia syzy­gii sub­sp. celebe­sen­sis) ใบ เชื้อรา : ใบกล้วยที่อยู่รอบนอกหรือใบแก่ แสดงอาการเหี่ยวเหลือง ใบจะเหลืองจากขอบใบและลุกลามเข้ากลางใบ รวมถึงมีแผลไหม้บริเวณใบและลำต้นภายนอก เชื้อแบคทีเรีย : จะเริ่มแสดงอาการที่ใบธง (ใบอ่อน) เหี่ยวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลือง จากนั้นใบล่างจะแสดงอาการเหี่ยวอย่างรวดเร็วแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและยืนต้นตายในที่สุด เนื้อผล เชื้อรา : สีของเนื้อผลสีขาวไม่มีการเปลี่ยนสี เชื้อแบคทีเรีย : เนื้อผลจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง ลำต้น เชื้อรา : เมื่อตัดลำต้นเทียบตามขวางหรือตามยาว จะพบเนื้อในของกาบใบบางส่วนเป็นสีน้ำตาลแดงและอาจพบเส้นใยของเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย :

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนขาวสวนมะพร้าว ระวังหนอนหัวดำมะพร้าว

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนขาวสวนมะพร้าว ระวังหนอนหัวดำมะพร้าว

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…เตือนขาวสวนมะพร้าว ระวังหนอนหัวดำมะพร้าว โดยตัวหนอนเข้าทำลายใบมะพร้าวโดยแทะกินผิวใบบริเวณใต้ทางใบจากนั้นจะถักใยนำมูลที่ถ่ายออกมาผสมกับเส้นใยที่สร้างขึ้นนำมาสร้างเป็นอุโมงค์คลุมลำตัวยาวตามทางใบบริเวณใต้ทางใบตัวหนอนอาศัยอยู่ภายในอุโมงค์ที่สร้างขึ้นและแทะกินผิวใบ แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1. วิธีเขตกรรมและวิธีกล ตัดใบที่มีหนอนหัวดำมะพร้าวนำไปเผาทำลายทันที ไม่ควรเคลื่อนย้ายต้นพันธุ์มะพร้าวหรือพืชตระกูลปาล์มมาจากแหล่งที่มีการระบาด 2. การใช้ชีววิธี การใช้แตนเบียนที่เฉพาะเจาะจงกับหนอนหัวดำมะพร้าว เช่น แตนเบียนโกนีโอซัส นีแฟนติดิส (Goniozus nephan­tidis) โดยปล่อยช่วงเวลาเย็น พลบค่ำ อัตรา 200 ตัวต่อไร่ต่อครั้ง ให้กระจายทั่วแปลงเดือนละครั้ง ถ้าปล่อยแตนเบียนได้มากจะทำให้เห็นผลในการควบคุมเร็วขึ้น

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…การใช้ปุ๋ยอย๋างมีประสิทธิภาพ 4 ถูก

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…การใช้ปุ๋ยอย๋างมีประสิทธิภาพ 4 ถูก

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…การใช้ปุ๋ยอย๋างมีประสิทธิภาพ 4 ถูก ประกอบด้วย 1. ถูกชนิด คือ การใส่ปุ๋ยตามชนิดและตามสูตรให้เหมาะสมกับความต้องการของพืช 2. ถูกปริมาณ คือ การใส่ปุ๋ยในอัตราและปริมาณที่พอเหมาะ เหมาะสม ไม่มาก ไม่น้อยเกินไป 3. ถูกเวลา คือ การใส่ปุ๋ยในช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม 4. ถูกวิธี คือ การใส่ปุ๋ยให้พืชในจุดที่พืชสามารถดึงธาตุอาหารไปใช้ประโยชน์ได้ดีที่สุด

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…ระวัง เพลี้ยไฟพริก ในพริก

#เกษตรด่านมะขามเตี้ย…ระวัง เพลี้ยไฟพริก ในพริก

ระวัง เพลี้ยไฟพริก ในพริก สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศร้อนในตอนกลางวันมีฝนตกและลมแรงในบางพื้นที่ เตือนผู้ปลูกพริก ในระยะ ทุกระยะการเจริญเติบโต รับมือเพลี้ยไฟพริก ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยง จากยอด ใบอ่อน ตาดอก และดอก ทำให้ใบ หรือยอดอ่อนหงิก ขอบใบหงิกหรือม้วนขึ้นด้านบน ถ้าเข้าทำลายระยะพริกออกดอก จะทำให้ดอกพริกร่วงไม่ติดผล การทำลายในระยะผล จะทำให้รูปทรงของผลบิดงอ ถ้าการระบาดรุนแรงพืชจะชะงักการเจริญเติบโต หรือแห้งตายในที่สุด