เกษตรหนองปรือ แจ้งเตือนเกษตรกรผู้ปลูกมะละกอ ระวังเพล้ยแป้ง ในมะละกอ พร้อมคำแนะนำในการป้องกันกำจัด
แจ้งเตือนเกษตรกรผู้ปลูกมะละกอ

เกษตรหนองปรือ แจ้งเตือนเกษตรกรผู้ปลูกมะละกอ ระวังเพล้ยแป้ง ในมะละกอ พร้อมคำแนะนำในการป้องกันกำจัด
วันที่ 8 ตุลาคม 2567 นางสาวจุฑารัตน์ จันภักดี นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรปฏิบัติการ พร้อมด้วย นางสาวสุกัญญา สอนใจ นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ เข้าร่วมพิธีแลกเปลี่ยนเงินขวัญถุงพระราชทานกองทุนแม่ของแผ่นดิน ประจำปี พ.ศ.2567 ณ อาคารอเนกประสงค์โรงเรียนบ้านเขาหินตั้ง หมู่ที่ 2 ตำบลสมเด็จเจริญ อำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี
วันที่ 7 ตุลาคม 2567 เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอหนองปรือ เข้าร่วมประชุมเพื่อชี้แจงแนวทางและขั้นตอนการดำเนินงานการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบภัยพิบัติ(ด้านพืช) และการดำเนินงานวิสาหกิจชุมชน ณ ห้องประชุมสำนักงานเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศร้อนชื้น ฝนตกทั่วไป และตกหนักเป็นบางแห่ง เตือนผู้ปลูกฝรั่ง ในระยะติดผล รับมือแมลงวันผลไม้ ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 ฟอง ในผลฝรั่ง ลึกจากผิวประมาณ 2-5 มิลลิลิตร หลังจากฝรั่งติดผลแล้ว 9 สัปดาห์ ระยะหนอนทำลายพืชโดยการชอนไชกินเนื้ออยู่ภายในผล ทำให้ผลเน่าและร่วง แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1. ต้องรักษาความสะอาดในแปลงปลูก โดยเก็บผลที่ถูกแมลงวันผลไม้เข้าทำลาย หรือผลที่เน่าออกจากแปลงปลูก นำไปฝังกลบให้มีระดับหน้าดินหนา 15 เซนติเมตร เพื่อลดการสะสมและขยายพันธุ์ของแมลงวันผลไม้ในแปลงปลูก 2. ควรทำการตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง เพื่อลดการเกิดร่มเงาในทรงพุ่ม ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมต่อการแพร่ระบาดของแมลงวันผลไม้ และให้ศัตรูธรรมชาติมีบทบาทในการทำลายแมลงวันผลไม้ได้มากขึ้น 3. ควรห่อผลด้วยถุงพลาสติกหูหิ้วสีขาว ขนาด 6*14 นิ้ว ที่เจาะรูแบบซ่อนรูปสำเร็จมาจากโรงงาน การห่อผลควรเริ่มห่อเมื่อผลมีอายุ
สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศชื้นมีฝนตก เตือนผู้ปลูกถั่วฝักยาว ในทุกระยะ การเจริญเติบโต รับมือหนอนเจาะฝักถั่ว เมื่อหนอนฟักออกจากไข่จะเจาะเข้าไปกัดกินภายในดอกอ่อน ต่อมาจะกัดส่วนของดอกและเกสรทำให้ดอกร่วง เมื่อหนอนโตขึ้นจะเจาะเข้าไปกัดกินภายในฝัก ส่วนที่เป็นเมล็ดอ่อน ทำให้ฝักและเมล็ดลีบ แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1. วิธีกล ก่อนปลูกพืชประมาณ 2 สัปดาห์ ควรทำการไถพรวน และตากดิน เพื่อกำจัดดักแด้ที่อาจหลงเหลืออยู่ในแปลงปลูก 2. การใช้เชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส ทูริงเยนซิส อัตรา 60-80 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร 3. การใช้สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพป้องกันกำจัด เช่น เบตา-ไซฟลูทริน 2.5% อีซี อัตรา 20-30 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ เดลทาเมทริน
สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศชื้นมีฝนตก เตือนผู้ปลูกถั่วฝักยาว ในทุกระยะการเจริญเติบโต รับมือหนอนเจาะฝักถั่ว เมื่อหนอนฟักออกจากไข่จะเจาะเข้าไปกัดกินภายในดอกอ่อน ต่อมาจะกัดส่วนของดอกและเกสรทำให้ดอกร่วง เมื่อหนอนโตขึ้นจะเจาะเข้าไปกัดกินภายในฝัก ส่วนที่เป็นเมล็ดอ่อน ทำให้ฝักและเมล็ดลีบ แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1. วิธีกล ก่อนปลูกพืชประมาณ 2 สัปดาห์ ควรทำการไถพรวน และตากดิน เพื่อกำจัดดักแด้ที่อาจหลงเหลืออยู่ในแปลงปลูก 2. การใช้เชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส ทูริงเยนซิส อัตรา 60-80 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร 3. การใช้สารฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพป้องกันกำจัด เช่น เบตา-ไซฟลูทริน 2.5% อีซี อัตรา 20-30 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ เดลทาเมทริน 3%
สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศร้อน ฝนตกชุก เตือนผู้ปลูกถั่วฝักยาว ในทุกระยะการเจริญเติบโต รับมือเพลี้ยอ่อน ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และฝักอ่อน ทำให้ส่วนที่ถูกทำลายบิดเบี้ยว แกร็น แนวทางป้องกัน/แก้ไข เมื่อพบการระบาด ใช้สารฆ่าแมลง ได้แก่ ฟิโพรนิล 5% เอสซี อัตรา 20 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ คาร์โบซัลแฟน 20% อีซี อัตรา 40 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไดโนทีฟูแรน 10% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 20 กรัมต่อน้ำ 20
ไรสี่ขามะพร้าวเป็นศัตรูพืชที่มีขนาดเล็กมาก รูปร่างลักษณะคล้ายหนอนสีขาวใส ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ต้องมองผ่านกล้องที่มีกำลังขยายสูงเท่านั้น ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเป็นศัตรูพืช เพศเมียสามารถวางไข่ได้ประมาณ 30-50 ฟอง จากระยะไข่ – ตัวเต็มวัย ใช้ระยะเวลาประมาณ 7-8 วัน ทั้งนี้ไรสี่ขามะพร้าวจะเริ่มเข้าทำลายผลมะพร้าวตั้งแต่ผลมีขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 เซนติเมตรจนถึง 25 เซนติเมตร โดยไรจะอาศัยดูดกินอยู่ใต้กลีบเลี้ยงของผลมะพร้าว ผลมะพร้าวที่ถูกไรสี่ขาทำลายจะชะงักการเจริญเติบโต หลุดร่วงและผลผลิตเสียหายได้ถึง 70% จึงต้องเร่งสร้างการรับรู้ให้เกษตรกรชาวสวนมะพร้าวเฝ้าระวังเนื่องจากสร้างความเสียหายอย่างรุนแรงต่อทั้งคุณภาพและผลผลิตมะพร้าว ไรสี่ขามะพร้าวเป็นศัตรูพืชที่เข้าทำลายอยู่ภายในขั้วผลมะพร้าว ทำให้การพ่นสารฆ่าไรไม่สามารถโดนตัวไรได้โดยตรง ดังนั้นการป้องกันกำจัดให้เน้นพ่นสารกำจัดไรในช่วงระยะมะพร้าวติดจั่นจนถึงระยะผลขนาดเล็ก ห่างกันประมาณ 1 สัปดาห์ ซึ่งเป็นระยะที่ไรสี่ขาเริ่มเข้าทำลาย โดยสารฆ่าไรสี่ขามะพร้าวตามคำแนะนำ ของกรมวิชาการเกษตร ได้แก่ –โพรพาร์ไกต์ 30% WP อัตรา 30
เกษตรหนองปรือ…ร่วมกิจกรรมวันสงกรานต์ ประจำปี 2567 เพื่อเป็นการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม ณ.หอประชุมที่ว่าการอำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี
วันที่ 28 มีนาคม 2567 เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอหนองปรือเข้าร่วมบริจาคโลหิต ณ หอประชุมที่ว่าการอำเภอหนองปรือ จังหวัดกาญจนบุรี